ควรเปลี่ยนจากภายในสู่ภายนอก หลายครั้งที่การ Rebranding เป็นภาพการทำให้กลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้าของแบรนด์ได้รับรู้ แต่พอถามบุคลากรภายในกลับไม่สามารถบอกจุดประสงค์ในการ Rebranding ขององค์กรได้ ทั้งที่ความจริงแล้วการสร้างความเข้าใจภายในองค์กร สำหรับพนักงานในทุกระดับไปจนถึงผู้บริหารนั้นควรเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน และมองเห็นภาพใหญ่ที่ชัดเจนเหมือนกัน เพราะทุกคนต่างก็เป็นเหมือนตัวแทนของแบรนด์ที่จะสามารถสื่อสารกับผู้คนรอบข้างได้ ดังนั้นหากทุกคนภายในองค์กรไม่เข้าใจจุดประสงค์ที่แท้จริงหรือเข้าใจไม่ถ่องแท้ ก็อาจจะส่งผลให้การรีแบรนดิ้งนั้นไม่ส่งผลดีอย่างที่ควรจะเป็น 2. ควรเปลี่ยนทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ ไม่ใช่แค่ส่วนใดส่วนหนึ่ง ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า แบรนด์ไม่ใช่แค่เพียงโลโก้เท่านั้น วิธีการสื่อสาร สี ตัวอักษร หน้าร้าน สินค้า วัสดุอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยโลโก้ของแบรนด์ ทั้งหมดนี้ควรเปลี่ยนไปพร้อมกันและไปในทิศทางเดียวกันทั้งหมด เพราะการเปลี่ยนแค่ครึ่ง ๆ กลาง ๆ หรือการสื่อสารที่ไม่ชัดเจนอาจทำให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนและยังสร้างความสับสนให้กับผู้คนภายนอก อันจะนำมาซึ่งการ Rebranding ที่เต็มไปด้วยปัญหาและยากที่จะประสบความสำเร็จ 3.

  1. 10 เหตุผลที่ธุรกิจต้อง Rebranding – Popticles.com
  2. 9 เหตุผลสำคัญที่บริษัทยักษ์ใหญ่ต้อง ‘รีแบรนด์’
  3. การรีแบรนด์
  4. ‘การรีแบรนด์’ ไม่ใช่แค่เปลี่ยนโลโก้ แต่เป็นการโชว์ถึงภาพลักษณ์ของแบรนด์ – Kosin Studio
  5. การรีแบรนด์ คือ
  6. 4 เคล็ดลับ Rebranding พลิกแบรนด์เก่าสู่ตลาดดิจิทัลในโลกธุรกิจยุคใหม่ - RS Group
  7. การรีแบรนด์ดิ้ง

10 เหตุผลที่ธุรกิจต้อง Rebranding – Popticles.com

การรีแบรนด์ คือ

9 เหตุผลสำคัญที่บริษัทยักษ์ใหญ่ต้อง ‘รีแบรนด์’

มีความเปลี่ยนแปลงในองค์กร/เปลี่ยนผู้บริหาร ไม่ว่าจะเปลี่ยนผู้บริหารใหม่ ควบรวมกิจการ หรือแยกกิจการออกจากกัน การรีแบรนด์เป็นสิ่งที่ควรคำนึงถึงอย่างมาก เพราะการเข้าสู่เฟสใหม่ควรทำให้บริษัทมีความชัดเจน หากต้องไปควบรวมกับที่ใหม่ แล้วแบรนด์เก่าไม่แข็งแรง ต้องหารือกันใหม่ ทั้งนี้ต้องดูปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น แผนธุรกิจ กลยุทธ์ของแบรนด์ ควรจัดตั้งทีมที่ดูแลการทำแบรนด์เป็นพิเศษด้วย เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ภาพลักษณ์ของแบรนด์ออกมาดูดีทั้งภายนอกและภายใน 9.

การรีแบรนด์

สินค้าที่ขาย หาได้ง่าย ๆ มีทั่วไปในตลาด ทุก ๆ อุตสาหกรรมในวันนี้ ควรต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แนวทางการพัฒนาแบรนด์ให้เป็นไปในทางที่สร้างสรรค์ขึ้นจึงเป็นสิ่งสำคัญกับธุรกิจ เพราะถ้าสินค้าของคุณมีความโดดเด่นกว่าคู่แข่งในตลาด ก็อาจทำให้ธุรกิจของคุณแซงหน้าและได้รับความสนใจกว่าคู่แข่งอื่น ๆ อย่างแน่นอน ตัวอย่างเช่น " บาร์บีคิวพลาซ่า" เมื่อ 20 กว่าปีก่อน เป็นเหมือนร้านปิ้งย่างทั่ว ๆ ไป แต่เมื่อถึงวันที่ทายาทรุ่นที่ 2 เข้ามาดูแล ก็ได้รีแบรนด์ให้มีความเป็นกันเองและน่ารักยิ่งขึ้น ด้วยแนวคิดส่งความสุขให้กับลูกค้า ผู้บริโภคจึงรู้สึกอบอุ่นใจเสมอเมื่อมาทานปิ้งย่างที่นี่ 4. ต้องการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ การทำการตลาดให้ดึงดูดลูกค้ากลุ่มใหม่ ๆ เป็นสิ่งสำคัญในยุคนี้ เพราะถ้าแบรนด์ไม่ได้ให้ความรู้สึกที่เข้าถึงกลุ่มลูกค้า นั่นเป็นสัญญาณที่อันตรายกับแบรนด์ของคุณ หนึ่งในวิธีดี ๆ คือการหมั่นพูดคุยและสอบถามลูกค้าที่เข้าถึงแบรนด์อย่างสม่ำเสมอ การรีแบรนด์จึงเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะถ้าเอกลักษณ์ของแบรนด์ดึงดูดได้ทั้งกลุ่มลูกค้าเก่าและกลุ่มใหม่ ๆ ด้วย จะทำให้มีรายได้จากช่องทางใหม่ ๆ ด้วย 5. แบรนด์ไม่สะท้อนคุณค่าอย่างชัดเจน ถ้ากลยุทธ์ของแบรนด์ วิสัยทัศน์ หรือค่านิยมที่ตั้งมั่นไว้ตั้งแต่ต้นไม่มีความแข็งแรง อาจทำให้คนไม่เข้าใจว่าเอกลักษณ์ที่ชัดเจนของธุรกิจคืออะไร สิ่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะมีผลกระทบกับแบรนด์อย่างแน่นอน ตัวอย่างเช่น แบรนด์ ไฟเซอร์ (Pfizer) บริษัทยายักษ์ใหญ่ ได้เปลี่ยนโลโก้ใหม่ในปีนี้ หลังจากที่ใช้โลโก้เดิมมาเป็นเวลา 72 ปี โดยเหตุผลสำคัญคือ พวกเขาต้องการให้แบรนด์มีภาพลักษณ์ที่มีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับความเป็นจริงที่ตอนนี้กำลังผลิตวัคซีนโควิด-19 เพื่อคนทั่วโลก 6.

‘การรีแบรนด์’ ไม่ใช่แค่เปลี่ยนโลโก้ แต่เป็นการโชว์ถึงภาพลักษณ์ของแบรนด์ – Kosin Studio

แรงบันดาลใจ (Inspiration) ขั้นตอนต่อมาคือการค้นหาและรวบรวมแรงบันดาลใจจากแบรนด์ทั่วโลก โดยเราให้ทีม Product Design สร้างบอร์ดบน Pinterest ขึ้นมาทั้งหมด 5 บอร์ดสำหรับคำ 5 คำที่เราเลือกกันไว้ตอนแรก จากนั้นแต่ละคนจะไป Pin ไอเดีย หรือสัญลักษณ์ที่คิดว่าเหมาะสมกับคำๆนั้นเข้ามาไว้ในบอร์ดเหล่านี้ หลังจากนั้นมาร่วมกันโหวต Pin ที่ดีที่สุดทั้งหมด 15 Pins แล้วปักไว้ที่บอร์ดแหล่งอ้างอิงสุดท้าย 3. โลโก้ (Logomark) เราให้ Designer เริ่มกระบวนการออกแบบโลโก้จากแหล่งอ้างอิง ในขั้นตอนนี้เราได้โลโก้รูปตัว R พิมพ์ใหญ่และ r พิมพ์เล็กซึ่งเป็นตัวอักษรแรกของคำว่า RentSpree มากกว่า 20 รูปแบบที่แตกต่างกัน โดยเราได้เลือกรูปแบบที่สื่อความหมายได้ดีที่สุด 5 รูปแบบ รูปแบบที่ดีที่สุด 5 แบบที่เลือกจากการออกแบบตามแหล่งอ้างอิง 4.

การรีแบรนด์ คือ

  • Ragnarok X: Next Generation ตกปลา 100 ครั้งได้อะไรบ้าง
  • IRobot Roomba 960 ผ่อน 0% ของแท้ ประกันศูนย์
  • สระ ผม ถูก วิธี
  • เอทิลแอลกอฮอล์ โค วิด
  • รีเลย์ ตั้ง เวลา
  • วิเคราะห์ โตโยต้า ไทยลีก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด VS เอสซีจี เมืองทอง 26 พฤษภาคม 2562
  • Chevrolet aveo 1.4 ราคา
  • วิธีการไปยัง Bangkok Hospital (โรงพยาบาลกรุงเทพ) ใน ห้วยขวาง โดยการนั่งรถบัส, รถไฟใต้ดิน หรือ รถไฟ?

4 เคล็ดลับ Rebranding พลิกแบรนด์เก่าสู่ตลาดดิจิทัลในโลกธุรกิจยุคใหม่ - RS Group

การรีแบรนด์ดิ้ง

รูปทรงของโลโก้ (Shape Variations) หลังจากที่เราได้ลงคะแนนเพื่อเลือกสไตล์ของโลโก้ที่ดีที่สุดแล้ว เราลองปรับเปลี่ยนรูปทรงโดยรวมของโลโก้อีกครั้งเพื่อหาแบบที่ดูลงตัวที่สุด ซึ่งแบบที่ได้รับเลือกเป็นรูปทรงตัว r ที่มีหางยาวทะลุพื้นหลังออกไปแสดงถึงการเติบโตที่ไม่สิ้นสุด และพื้นหลังเป็นสี่เหลี่ยมแบบหมุน 45 องศาเพื่อความทันสมัย รูปทรงทางเลือกของโลโก้ (ตรงกลางคือแบบที่ได้รับเลือก) ก่อนจะถึงขั้นตอนสุดท้ายของการออกแบบโลโก้ เราวาดมันแบบละเอียดยิบระดับ pixel อีกหนึ่งรอบเพื่อให้มั่นใจได้ว่าโลโก้มีความสมดุลและคมชัด 5.

เปลี่ยนผู้นำองค์กร หลายครั้งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญภายในองค์กรซึ่งส่งผลกระทบต่อการ Rebranding นั่นก็คือการเปลี่ยนผู้นำสูงสุดขององค์กร ซึ่งมักจะมาพร้อมกับแนวคิดแนวทางปฏิบัติใหม่ๆที่สร้างอิทธิพลต่อการทำงานในรูปแบบใหม่ ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์บางอย่างของสินค้าหรือบริการและอาจรวมถึง Branding ขององค์กรด้วยเช่นกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือในช่วงที่ Steve Jobs กลับมาเป็น CEO ของ Apple ในปี 1977 ก็ได้มีการเปลี่ยนโลโก้จาก Apple สีรุ้ง เป็น Apple โทน Metallic ให้ดูทันสมัยมากขึ้นเพื่อขับเคลื่อนองค์กรสู่ยุคใหม่ 8. ภาพลักษณ์องค์กรดูไม่ทันสมัย เหตุผลนี้ถือเป็นเหตุผลที่ดีเหตุผลหนึ่งในการ Rebranding ครับ เพราะเมื่อธุรกิจคุณเปิดมานานเป็นหลายสิบปีอาจต้องมีการขยับปรับเปลี่ยนให้ดูทันสมัยตามยุคที่เปลี่ยนไป ซึ่งมันไม่ใช่แค่เปลี่ยนตามกระแสครับแต่มันก็ต้องมีการปรับเปลี่ยนในตัวองค์กร การบริการ การทำงาน หรือสินค้าและบริการที่ดีขึ้นด้วยจึงจะส่งผลดีต่อการ Rebranding ได้เต็มประสิทธิภาพ 9. มีการปรับเปลี่ยน Brand Portfolio บางธุรกิจมีการนำเอาแบรนด์ใหม่ๆเข้ามาซึ่งอาจจะเป็นในรูปแบบการซื้อกิจการ การควบรวมกิจการ การเข้าไปถือหุ้นในธุรกิจใหม่ๆ การนำเข้าสินค้าหลายๆอย่างมาขาย หรือการทำ Brand Extension ทำให้ต้องมีการขยับขยายและบริหารจัดการ Brand Portfolio ใหม่ให้ทุกๆแบรนด์เข้ามาอยู่ภายใต้ Portfolio เดียวกันที่สามารถสื่อสารเรื่องราวขององค์กรได้อย่างถูกต้อง และมันยังช่วยประหยัดงบประมาณได้อีกด้วย เช่น P&G และ Unilever 10.

ย้อนกลับไปเมื่อครั้งที่เรา ก่อตั้งเว็บไซต์ Content Shifu แค่ชื่อของแบรนด์ก็บ่งบอกว่าสิ่งที่เราให้ความสำคัญเป็นอันดับหนึ่งก็คือ 'คอนเทนต์' เราเชื่อว่า คอนเทนต์ที่ดี จะนำพาทุกอย่างให้สิ่งดีๆ ตามมาแน่นอน แต่ไม่ได้หมายความว่า เราจะละเลยกับสิ่งอื่นอย่าง ดีไซน์ และเทคโนโลยี เรารู้ว่าอย่างน้อยเราต้องมีโลโก้เพื่อเอาไว้ใช้บนเว็บ บน Social นะ เราต้องมีคู่สีสำหรับใช้ทำ Artwork นะ แต่จะทำยังไงดี?

การรีแบรนด์ดิ้ง

ไม่มีส่วนผสมที่เป็นอันตราย (Non-Toxic ingredient) 2. ฉลากที่โปร่งใส (Transparent label) 3. ไม่ทำการทดลองในสัตว์ (Cruelty free) 4.

การควบรวมหรือซื้อกิจการ เราจะเห็นการ Rebranding จากสถานการณ์นี้ค่อนข้างบ่อยในระยะหลังๆครับ ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทอาจมีการเปลี่ยนเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นใหม่ๆเลย ซึ่งมันส่งผลต่อความจำเป็นในการ Rebranding แบบทันทีทันใดที่ไม่ใช่แค่เพียงเรื่องของภาพลักษณ์ภายนอก แต่มันรวมถึงรายละเอียดในเชิงกฎหมายและเรื่องภายในองค์กรด้วย อีกหนึ่งกรณีก็อาจเกิดจากการที่บริษัทนั้นแยกตัวออกจากบริษัทเดิมเพื่อมาสร้างแบรนด์และผลิตสินค้าใหม่ๆเป็นของตัวเองก็ได้เช่นกัน 2. วางตำแหน่งของแบรนด์ใหม่ การเปลี่ยนตำแหน่งแบรนด์พร้อมคำมั่นสัญญาใหม่ๆซึ่งการ Rebranding ด้วยเหตุผลนี้ถือว่าต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่างมหาศาลในตัวองค์กรเอง ไม่ว่าจะเป็นการวางกลยุทธ์ใหม่ การปรับเปลี่ยนสินค้าหรือบริการใหม่ นโยบายการทำงานใหม่ รวมถึงอัตลักษณ์ขององค์กร (Corporate Identity) และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งไม่ใช่แค่ระดับการสื่อสารกับพนักงานและลูกค้าเท่านั้นแต่ยังรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดอีกด้วย 3. ลุยตลาดต่างประเทศ เมื่อธุรกิจกำลังวางแผนลุยตลาดต่างประเทศก็จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนแบรนด์ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศนั้นๆ ซึ่งมันอาจส่งผลต่อการตั้งชื่อแบรนด์รวมถึงแนวทางในการสื่อสารและการทำการตลาดของแบรนด์ด้วยเช่นกัน ซึ่งหลายๆกรณีจะเกิดกับข้อกำหนดและข้อจำกัดด้านกฎหมายด้วยครับ โดยเราจะเห็นหลายๆแบรนด์ที่เป็นแบรนด์ระดับโลกแต่มีการเปลี่ยนชื่อในบางประเทศ เช่น Jif เป็น Cif, Smiths เป็น Lay's, Raider เป็น Twix เป็นต้น 4.