เผยแพร่: 22 ก. ค. 2558 12:52 โดย: MGR Online เวลาหิวหรือท้องว่างอาหารใกล้ตัวหรืออาหารที่มีการรับรู้มาแบบผิดๆ ว่ากินแล้วจะทำให้อิ่มได้มักเป็นตัวเลือกแรกๆ สำหรับคนที่ท้องว่าง แต่ความจริงแล้วตอนท้องว่างไม่ใช่ว่าเราจะกินอะไรก็ได้เพื่อให้อิ่มเพราะอาหารบางอย่าง บางประเภทถ้าทานเข้าไปตอนที่ท้องว่างจะส่งผลไม่ดีต่อร่างกายของตัวเราเอง 1. กล้วย จริงๆ แล้วกล้วยมีคุณสมบัติให้ระบบขับถ่ายดี แต่ถ้าทานตอนท้องว่างจะทำให้ท้องอืด และ เป็นการเพิ่มแมกนีเซียมในเลือดให้สูงขึ้น ทำให้สูญเสียสัดส่วนของแคลเซียมและแมกนีเซียมซึ่งเป็นการยับยั้งการทำงานของหลอดเลือดหัวใจ เป็นอันตรายต่อสุขภาพอย่างมาก 2. ชาแก่ ความเชื่อผิดๆ ว่าการจิบชาตอนเช้าจะทำให้สดชื่อ ผ่อนคลาย ซึ่งความจริงการจิบชาตอนเช้าโดยเฉพาะชาแก่ตอนท้องว่าง จะทำให้กรดเกลือของน้ำย่อยในกระเพาะอาหารเจือจาง ส่งผลให้เกิดอาการใจสั่น เวียนหัว มือเท้าไม่มีแรง 3. ผัก เมนูที่ทำจากผักเป็นเมนูยอดฮิตของคนลดความอ้วน แต่รู้หรือไม่ว่าการทานผักแทนข้าวนอกจากจะให้เราได้รับสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่แล้วการทานผักตอนท้องว่างทำให้ท้องอืดอีกด้วย 4. ลูกพลับ ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า ลูกพลับ เป็นอาหารต้องห้ามที่ห้ามกินตอนท้องว่างเพราะว่าลูกพลับจะเป็นตัวกระตุ้นให้กระเพาะอาหารหลั่งกรดเกลือออกมามาก ทำให้เจ็บหน้าอก คลื่นไส้ และเป็นแผลในกระเพาะอาหาร 5.

7 อาหารที่ทำให้ท้องผูก กินเยอะแล้วท้องอืด ย่อยยาก

กิน นม ท้องอืด ภาษาอังกฤษ
  1. กิน นม ท้องอืด แก้ยังไง
  2. 7 อาหารที่ทำให้ท้องผูก กินเยอะแล้วท้องอืด ย่อยยาก
  3. ภาวะย่อยแลคโตสผิดปกติ ดื่มนมแล้วท้องอืด ลูกกินนมวัวแล้วท้องอืด แพ้นมวัวหรือ
  4. สรุปเรื่องของ “นมแลคโตสฟรี” ฉบับสมบูรณ์

ท้องเฟ้อ

กิน นม ท้องอืด อาหารไม่ย่อย

จุกนมและขวดนมแก้ท้องอืด สามารถป้องกันลูกท้องอืดได้จริงไหม | Enfa A+

ท้องอืด อาหารไม่ย่อย ปัญหาหนักอกตอนที่เราเผลอหม่ำของอร่อยเยอะไปหน่อย แล้วถ้าเกิดอาการอาหารไม่ย่อย ท้องอืดแบบนี้ กินอะไรดีถึงจะหาย เวลาที่มีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นท้องหลังจากรับประทานอาหาร เชื่อว่าหลายคนคงอยู่ไม่ค่อยสุข เดี๋ยวลุกเดี๋ยวนั่งเผื่ออาการท้องอืดท้องเฟ้อจะบรรเทาลงได้ แต่ช้าก่อนค่ะ... ไม่ต้องวุ่นวายใจถึงขนาดนั้น เพราะอาการท้องอืด แน่นท้อง เราแก้ด้วย อาหารช่วยย่อย เหล่านี้ได้เลย 1. น้ำมะนาว ไม่ใช่เรื่องแปลกหากจะบอกว่าน้ำมะนาวช่วยแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แถมยังช่วยย่อยอาหารให้เราได้ เพราะกรดในมะนาวจะช่วยกระตุ้นระบบย่อยอาหาร ทำให้อาหารในกระเพาะอาหารถูกย่อยเร็วขึ้น ส่วนการดื่มน้ำมะนาวก็จะช่วยเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย ช่วยขับโซเดียมที่คั่งค้างอยู่ในกระแสเลือด ช่วยให้อาการท้องอืดหายได้ในที่สุด โดยวิธีดื่น้ำมะนาวแก้อาหารไม่ย่อย ก็เพียงแค่บีบมะนาวครึ่งลูกใส่น้ำอุ่น 1 แก้วกาแฟ คนให้เข้ากันดีแล้วจิบบ่อย ๆ เท่านั้นเองค่ะ 2. ชาคาโมมายล์ สรรพคุณของดอกคาโมมายล์นอกจากช่วยทำให้นอนหลับสบายแล้วยังช่วยเรื่องขับลม บรรเทาอาการอักเสบและยับยั้งการเกิดแผลในทางเดินอาหาร โดยในบ้านเราจะมีวางขายในแบบดอกอบแห้ง จับมาชงด้วยน้ำร้อนประมาณ 150 ซีซี แช่ประมาณ 5-10 นาที แล้วกรองกากออก หรือจะซื้อในรูปแบบชาคาโมมายล์มาชงดื่มก็ได้เช่นกันค่ะ 3.

ดร Greer แห่งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย Pittsburgh ประเทศสหรัฐอเมริกา อธิบายว่าอาหารในกลุ่ม FODMAPs นั้น จะถูกดูดซึมในลำไส้เล็กได้เพียงเล็กน้อย บางครั้งก็ย่อยไม่หมดจนเกิดการหมักโดยเชื้อจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร ทำให้เกิดแก๊สขึ้นในลำไส้ใหญ่และส่งผลให้รู้สึกท้องอืด ส่วนวิธีบรรเทาอาการ ดร แนะนำให้ดื่มน้ำเปล่าเพื่อช่วยขับแก๊ส แต่หากมีอาการแน่นท้องอยู่บ่อย ๆ อาจต้องเลี่ยงอาหารบางชนิดที่ก่อให้เกิดอาการไม่สบายท้องดังต่อไปนี้ 1. โยเกิร์ต จริงอยู่ที่โยเกิร์ตนั้นมีเชื้อจุลินทรีย์ที่ดีต่อร่างกาย แต่โยเกิร์ตบางชนิดก็ส่งผลเสียมากกว่าผลดี เพราะโยเกิร์ตคือผลิตภัณฑ์ที่ทำจากนม โดยจัดอยู่ในกลุ่มของนมเปรี้ยวที่ได้จากการหมัก และอุดมด้วยน้ำตาลแล็กโทส (น้ำตาลที่พบในน้ำนม) ทำให้เกิดการหมักอยู่ในลำไส้กลายเป็นฟองแก๊ส จึงรู้สึกเหมือนมีลมและปั่นป่วนอยู่ภายในท้อง ดร แนะนำให้กินกรีกโยเกิร์ตรส ธรรมชาติ (Plain Greek Yogurt) ซึ่งมีน้ำตาลเพียง 12 กรัมและให้โปรตีนสูง ถือเป็นทางเลือกที่ดีกว่า ส่วนโยเกิร์ตที่ปราศจากไขมันหรือแบบไขมันต่ำอาจมีน้ำตาลสูงถึง 30 กรัม ซึ่งจะทำให้เกิดแก๊สในท้องมากยิ่งขึ้น 2. ผักตระกูลกะหล่ำ กะหล่ำปลี, บรอกโคลี และกะหล่ำดอก ซึ่งมีคาร์โบไฮเดรตประเภทที่เรียกว่าแรฟฟิโนส (Raffinose) ซึ่งเป็นน้ำตาลที่พบมากในธรรมชาติประกอบด้วยน้ำตาล 3 ชนิดคือ ฟรักโทส กลูโคส และกาแลกโทส ตามปกติแล้วร่างกายจะไม่สามารถย่อยน้ำตาลชนิดนี้ได้ในระบบทางเดินอาหารจนกว่าผักเหล่านี้จะถูกลำเลียงไปยังลำไส้ใหญ่ ซึ่งจะถูกย่อยให้เล็กลงจากแบคทีเรียที่อยู่ในนั้น แต่กว่าจะย่อยได้หมด กากอาหารจากผักจะเกิดการหมักหมมจนกลายเป็นแก๊ส ดร จึงแนะวิธีที่จะช่วยให้ร่างกายย่อยผักกะหล่ำได้ง่ายขึ้น คือนำไปอบหรือย่างให้สุกก่อนกินนั่นเอง 3.

ท้องอืดบ่อย ควรหลีกเลี่ยง และงดอาหารเหล่านี้ | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่

ธัญพืช เช่นเดียวกับการกินถั่วค่ะ ธัญพืชตางๆ นั้นก็ย่อยยากเช่นเดียวกัน รวมถึงธัญพืชบางประเภทยังสามารถสร้างแก๊สในกระเพาะได้ ทำให้เรามีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อได้ด้วยค่ะ 4. ขนมปัง โดนัท เบเกอรี่ต่างๆ อาหารประเภทขนมปัง โดนัทและเบเกอรี่ที่มีแป้งสาลีเป็นส่วนประกอบก็สามารถทำให้เราท้องอืด ท้องเฟ้อได้ เพราะในอาหารกลุ่มนี้มีกลูเตน ซึ่งในบางคนนั้นย่อยได้ยากค่ะ ทำให้เกิดอาการท้องอืดและท้องผูกได้จากการที่อาหารไม่ย่อยค่ะ 5. ผักและผลไม้ เราเคยรู้มาว่าผักและผลไม้ที่มีใยอาหารนั้นช่วยในการขับถ่าย แต่หากเรากินมากเกินไป ใยอาหารเหล่านี้ก็ทำให้เราท้องผูกและท้องอืดได้ค่ะ เพราะใยอาหารที่มากเกินจะเข้าไปอัดแน่นในท้องและในลำไส้ ส่งผลให้เราขับถ่ายลำบาก หากจะกินผักและผลไม้เพื่อช่วยระบายนั้นต้องกินแต่พอดีๆ จึงจะช่วยได้ค่ะ 6. พืชตระกูลกะหล่ำ พืชตระกูลกะหล่ำ เช่น กะหล่ำปลี บร็อคโคลี่ ผักกาด คะน้า หากกินดิบหรือไม่สุกอย่างเต็มที่ก็สามารถเข้าไปสร้างแก๊สในกระเพาะอาหารได้ ส่งผลให้เราท้องอืดท้องเฟ้อได้ค่ะ วิธีการแก้ก็คือปรุงอาหารให้สุกเสียก่อนก็จะช่วยได้ค่ะ 7.

อาหารที่มีไขมันสูง อาหารที่มีไขมันสูง เช่น เมนูจานทอด เมนูผัดน้ำมันเยิ้มๆ เมนูปิ้งย่างเนื้อติดมัน หมูสามชั้นย่างฉ่ำๆ ที่ถึงแม้ว่าจะรสชาติอร่อย นัวลิ้น มันปากเวลาทานแต่ก็อุดมไปด้วยไขมันที่ไม่ดีต่อสุขภาพและยังเป็นสาเหตุที่ทำให้ย่อยยาก ท้องอืดอีกด้วย ดังนั้นใครที่ไม่อยากมีอาการท้องอืด จุกเสียดแน่นไม่สบายตัว ท้องป่องควรหลีกเลี่ยงการทานอาหารปิ้งย่าง ทอดๆ มันๆ ให้น้อยลง 4. ผลิตภัณฑ์นมวัว อาการท้องอืดหลังดื่มนมนั้นไม่ได้เกิดขึ้นกับทุกคนค่ะ เพราะว่าในร่างกายของเราแต่ละคนนั้นมีปฏิกิริยากับแลคโตสในนมไม่เหมือนกัน ดังนั้นสำหรับใครที่ดื่มนมวัวแล้วท้องอืดมีให้ลองหลีกเลี่ยงแล้วเลี่ยนไปดื่มนมแพะหรือนมจากพืชแทนจะดีที่สุดค่ะ 5. กลูเตน ในข้าวสาลี ข้าวไรย์ ข้าวบาร์เลย์ มีกลูเตนบางชนิดที่สามารถส่งผลต่ออาการท้องอืดได้ ซึ่งอาการเหล่านี้มักจะเกิดขึ้นกับคนที่มีปัญหาการย่อยกลูเตน หรือโรคแพ้กลูเตน ( celiac disease) ดังนั้นทางที่ดีควรหลีกเลี่ยงการทานอาหารที่มีส่วนผสมของอาหารเหล่านี้จะช่วยลดอาการท้องอืดได้ค่ะ 6. นมถั่วเหลือง สำหรับใครที่มีอาการแพ้ แล ค โต ส ในนมวัวเลยเปลี่ยนมาดื่มนมถั่วเหลืองแทน ก็ยังไม่วายมีอาการท้องอืดอยู่ดี นั่นเป็นเพราะว่าในนมถั่วเหลืองมีน้ำตาลที่ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในลำไส้ใหญ่ที่ทำให้เกิดแก๊สได้ จึงทำให้เกิดอาการอึดอัดแน่นท้อง ดังนั้นหากเป้นแบบนี้ผู้เขียนแนะนำให้ดื่มนมจากพืชชนิดอื่นๆ แทน เช่น นมอัลมอนต์ นมพิสตาชิโอ 7.

7 อาหารไม่ควรกิน ขณะท้องว่าง

ขิง หากคุณรู้สึกท้องอืดหรืออาหารไม่ย่อยให้จิบชาน้ำขิงหรือกินขิงสดก็จะทำให้คุณรู้สึกดีขึ้น เพราะขิงนั้นเป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน สามารถช่วยขับลม และกระตุ้นการทำงานของลำไส้ทำให้ อาการท้องอืดบรรเทาลงได้ 12. กระเทียม สรรพคุณของกระเทียมนอกจากจะช่วยลดระดับไขมัน ลดความดันโลหิตสูง และส่งเสริมให้ระบบภูมิคุ้มกันดีขึ้นแล้ว กระเทียมยังมีฤทธิ์ช่วยย่อยอาหารด้วยนะคะ เพราะในกระเทียมมีสารที่ช่วยเพิ่มน้ำย่อยและน้ำดีในระบบย่อยอาหาร ส่งผลให้อวัยวะในระบบทางเดินอาหารจัดการย่อยอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นใครที่ชอบปวดท้องเนื่องจากอาหารไม่ย่อยอยู่บ่อย ๆ ให้กินกระเทียมซอยหลังมื้ออาหารทันทีแล้วอาการท้องอืดจะค่อย ๆ ทุเลาลงค่ะ หรือใครไม่สะดวกกับการกินกระเทียมสด จะเลือกรับประทานกระเทียมอัดเม็ดแทนก็ได้ 13. พริกไทยดำ พริกไทยมีคุณสมบัติในการขับลม และแก้ท้องอืด ดังนั้นจึงเป็นเครื่องเทศที่ไม่ควรพลาดในช่วงที่อาการท้องอืดมากวนใจ โดยวิธีใช้พริกไทยดำแก้ท้องอืดก็ง่าย ๆ ค่ะ แค่เพียงโรยพริกไทยดำลงไปในอาหารสักหน่อย แล้วรับประทาน กลิ่นฉุน ๆ จากพริกไทยดำจะช่วยให้รู้สึกสดชื่น แถมยังช่วยบรรเทาอาการอืดท้องไปพร้อมกัน 14.

ถั่ว ถั่ว จัดเป็นคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยให้เป็นน้ำตาลได้ยาก (Resistant Starch) หรือพูดง่าย ๆ คือเป็นเส้นใยอาหารที่ไม่สามารถย่อยได้ตามธรรมชาติ หรือไม่ถูกดูดซึมได้ในลำไส้เล็ก ส่งผลให้เกิดอาการท้องอืด โดยทั่วไปมักพบในประเภทถั่วเปลือกแข็งทั้งหลาย สำหรับวิธีรับประทานถั่วอย่างมีความสุขนั้น ดร บอกให้นำถั่วเปลือกแข็งแช่น้ำไว้ค้างคืน ความชุ่มฉ่ำจากน้ำจะช่วยให้ถั่วอ่อนนิ่มและยับยั้งคาร์โบไฮเดรตได้บางส่วน ทำให้ลดอาการท้องอืดที่อาจเกิดขึ้นได้ 4. หัวหอมใหญ่ ฟรุกแทน (Fructan) เป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดหนึ่งที่พบในหัวหอมใหญ่ ซึ่งมักเป็นปัญหาต่อช่องท้องของเรา เนื่องจากพืชผักตระกูลหอม ไม่ว่าจะเป็นต้นหอม หัวหอมแดง และหัวหอมใหญ่ มักดูดซึมในลำไส้ได้น้อย และเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดน้ำในลำไส้ ส่งผลให้เกิดแก๊สและท้องอืดตามมา 5. แตงโม ผลไม้ที่ให้ความหวานตามธรรมชาติชนิดนี้อุดมไปด้วยน้ำตาลฟรักโทสในระดับสูงมาก โดย ดร ระบุว่า ประมาณ 30-40% ของผู้ที่ร่างกายไม่สามารถดูดซึมฟรักโทสได้อย่างเต็มที่นั้นจะนำไปสู่อาการท้องอืด บางครั้งอาจมีอาหารท้องเสียร่วมด้วย 6. สารให้ความหวานสังเคราะห์ สารให้ความหวานอย่างซอร์บิทอล และไซลิทอลถือเป็นน้ำตาลแอลกอฮอล์ (Sugar Alcohol) ส่วนใหญ่ถูกใช้เป็นส่วนประกอบในหมากฝรั่ง ซึ่งน้ำตาลแอลกอฮอล์เหล่านี้จะมีการดูดซึมในลำไส้เล็กได้ค่อนข้างช้า จึงอาจเป็นสาเหตุให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร ท้องอืด แน่นท้อง และอาจท้องเสียได้ 7.

ตรวจสอบข้อมูลโดย: ผศ. พญ.