วินัยในตนเอง หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการควบคุมอารมณ์ หรือพฤติกรรมของตนเองให้เป็นไปตามที่ตนมุ่งหวัง ซึ่งจะต้องเป็นไปตามกฎระเบียบของสังคม โดยเกิดจากความสำนึกขึ้นมาเอง แม้จะมีสิ่งเร้าจากภายนอก หรือภายในมาเป็นอุปสรรค ก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มุ่งหวังไว้… องค์ประกอบของความมีวินัยในตนเองมีอะไรบ้าง 1) มีความรับผิดชอบ 2) มีความเชื่อมั่นในตนเอง 3) ตรงต่อเวลา 4) มีลักษณะความเป็นผู้นำ 5) มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น การปลูกฝังความมีวินัยในตนเองทำได้อย่างไร? การปลูกฝังความมีวินัยในตนเอง ขึ้นอยู่กับผู้ใหญ่ที่เป็นผู้ดูแลเด็กและเยาวชน ซึ่งอาจเป็นพ่อแม่ ผู้ปกครองและครู โดยการปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. ใช้วิธีแนะแนวทางแทนการดูถูกและทำลายความเชื่อมั่นในตัวเอง 2. เมื่อมีการทำผิด ควรพิจารณาภูมิหลังของเขาก่อนการลงโทษ และให้เขาได้เรียนรู้ เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 3. จัดที่อยู่ทั้งที่บ้านและโรงเรียนให้มีบรรยากาศที่เต็มไปด้วยความเคารพและเชื่อถือกัน 4. บอกขอบเขตกว้าง ๆ ของพฤติกรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับของสังคม ต่อจากนั้นให้เด็กช่วยวางกฎเกณฑ์สำหรับตนเองด้วย 5. ยอมรับสภาพที่แตกต่างของเด็กแต่ละคน เพื่อให้เด็กเกิดความสบายใจ 6.

วินัย คืออะไร วินัย หมายถึง.. • ปั้นใหม่ เลี้ยงลูกใหม่ ปั้นให้ดี

  • ความหมายของวินัย | วินัยดีตามวิถีกาญจนา
  • รถเข็นเด็ก aprica
  • ระเบียบ วินัย คือ อะไร photoshop
  • ทำไมคนญี่ปุ่นถึงมีวินัย? 5 วิธีสร้างคนมีคุณภาพจากห้องเรียนญี่ปุ่น
  • (คลิป) ระทึก... ไฟไหม้คลังสินค้า ห้างดังในไต้หวัน
  • ระเบียบ วินัย คือ อะไร แบ่งเป็นกี่แบบ
  • ขบวนการหมาป่า เล่ม1-6 จบ PDF - Novel Lucky
  • Samsung galaxy a52s 5g กับแบตของเครื่อง - Pantip

ความมีวินัย - Food Wiki | Food Network Solution

ระเบียบวินัยทางสังคม หมายถึง แนวปฏิบัติอันดีทุกคนในสังคมยึดถือปฏิบัติเหมือนกันมีลักษณะเหมือนกับวินัยส่วนตัวและวินัยในหน้าที่แต่วินัยทางสังคมมีความหมายที่กว้างกว่า เช่น มารยาท กฎหมาย จารีตประเพณี หลักปฏิบัติของทางศาสนา เป็นต้น หวน พินธุพันธ์ (2538: 96-97) แบ่งวินัยในสถานศึกษาออกเป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. วินัยเฉียบขาดแบบทหาร ในกรณีนี้ถือว่าบุคลากร ยังไม่รู้จักรับผิดชอบชั่วดีจึงต้องมีการควบคุมให้ปฏิบัติตามคำสั่งระเบียบ ผู้กระทำผิดจึงต้องได้รับโทษ ผู้ปฏิบัติไม่ใช่ผู้ออกระเบียบ ข้อดี คือ ผู้ที่ถูกบังคับให้ประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีจะติดเป็นนิสัยและมีความประพฤติดีติดตัวไปในภายหน้า ข้อเสีย คือ ผู้ที่ถูกบังคับให้ประพฤติปฏิบัติไม่เห็นคุณค่าของการประพฤติดีจะรู้สึกปราศจากเหตุผลและไม่เต็มใจปฏิบัติ 2. วินัยแบบดำเนินงานให้สอดคล้องกับความสนใจของบุคลากร ยึดหลักว่าถ้าได้ในสิ่งที่ตนสนใจแล้วผู้บังคับบัญชาจะรู้สึกสบายใจ ผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วมในการกำหนดกฎระเบียบข้อดี คือ ผู้ปฏิบัติพร้อมที่จะปฏิบัติตาม ข้อเสีย คือ สถานศึกษามิอาจดำเนินการตามความสนใจและความต้องการของสถานศึกษาได้มากนัก 3.

ปัญหาสังคมไร้ระเบียบ กับพฤติกรรมที่สังคมร้อง “ยี้!!!” - "มนุษย์ป้า-เสานี้ไม่ว่างเสาหน้านะน้อง..." - ThaiPublica

ต้องรักษาความลับของทางราชการ (มาตรา 70) การเปิดเผยความลับของทางราช การอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการอย่างร้ายแรง(มาตรา 70 วรรคสอง) 9. ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วย กฏหมายและระเบียบของทางราชการ (มาตรา 71) การขัดคำสั่งหรือหลีกเลี่ยงไปปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบ ด้วยกฏหมายและระเบียบของทางราชการอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการอย่างร้ายแรง (มาตรา 71 วรรคสอง) 10. ต้องปฏิบัติราชการโดยมิให้เป็นการกระทำข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่ ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นเป็นผู้สั่งให้กระทำ หรือได้รับอนุญาตเป็นพิเศษชั่วคราว (มาตรา 72) 11. ต้องไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา การรายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรต้อง บอก ถือว่าเป็นการรายงานเท็จด้วย (มาตรา 73) การรายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการอย่าง ร้ายแรง (มาตรา 73 วรรคสอง) 12. ต้องถือและปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ (มาตรา 74) 13. ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการไม่ได้ (มาตรา 75)การละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ทางราชการอย่างร้ายแรง การละทิ้งหน้าที่ราชการติดกันในคราวเดียวกันเป็นเวลาไม่เกิน 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติกรรมอันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (มาตรา 75 วรรคสอง) 14.

ระเบียบวินัย

วินัยคืออะไร???

3 ชนิด

ไม่ฆ่าสัตว์ 2. ไม่ลัก ไม่คอร์รัปชั่น ไม่ยักยอกคดโกง 3. ไม่ประพฤติผิดในกาม รู้จักห้ามใจให้พอใจแต่คู่ของตน 4. ไม่โกหกหลอกลวง 5. ไม่เสพของมึนเมาให้โทษ ศีล 5 มีมาก่อนพุทธกาล พระพุทธเจ้าทรงรับเข้ามาไว้ในพระพุทธศาสนา และชี้แจงถึงความจำเป็นของการมีศีล ดังนั้นศีลจึงไม่ใช่ ข้อห้ามตามที่คนจำนวนมากเข้าใจ แต่หมายถึงความปกติของคน นอกจากนี้ศีลยังเป็นเครื่องวัดความเป็นคนได้อีกด้วย วันใดเรามีศีลครบ 5 ข้อ แสดงว่าวันนั้นเรามีความเป็นคนครบ 100% ผู้มีวินัยดี หมายถึงผู้ที่รักษาวินัยทั้งทางโลกและทางธรรม อย่างถูกต้องเคร่งครัด เรียบเรียงจากหนังสือ มงคลชีวิต " ฉบับทางก้าวหน้า " ของชมรมพุทธศาสตร์สากล ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เรียบเรียงโดย พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ M. D., Ph. D. (เข้าชม 683 ครั้ง)